นาคราช
ทางฆ้องวงใหญ่
ของครูพุ่ม ปาปุยะวาทย์
ลำดับที่
8 อยู่ในเรื่องเพลงช้าสีนวล
----
|
ทททท
|
-ท--
|
-ล-ท
|
-มซล
|
ทลซม
|
-มซม
|
ซร-ม
|
1
|
-มซล
|
ซมซร
|
มรทร
|
-ม-ซ
|
-ท-ล
|
-ซ-ม
|
ซมรท
|
-ร-ม
|
2
|
กลับต้น
ต้นทางของเพลงไส้พระจันทร์
ชั้นเดียว เที่ยวแรก หรือท่อนแรก เป็นเพลงอะไหล่ หรือเพลงตลาด
ที่นำมาใช้รับร้องประกอบศิลปการแสดงของไทย ได้รับความนิยมลำดับต้น ทั้งหุ่น หนัง โขน
ละคร ลิเก ในช่วงอารมณ์โมโหโกรธา
บางที่ก็เรียกแผลงว่า ไส้เดือนฉกจวัก
ท่านครูหลวงประดิษฐไพเราะ
(ศร ศิลปบรรเลง) แต่งขยายเป็นอัตรา ๒ ชั้น เรียกชื่อเพลงว่า
"นาคราชแผ่พังพาน" ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๙๐ ท่านครูฯ แต่งขยายเป็นอัตรา ๓ ชั้น
ครบเป็นเพลงเถา มีชื่อเรียกต่างๆได้แก่ นาคราช เถา, นาคราชแผลงฤทธิ์
เถา, ไส้เดือนฉกจวัก เถา, และไส้พระจันทร์
เถา
โดยชื่อเพลงว่าไส้พระจันทร์
เป็นที่ยอมรับเรียกกันจนคุ้นหูที่สุด จากเพลงนาคราชที่ใช้สื่ออามรณ์ โกรธโมโห
ถูกตีความใหม่เป็นเพลงทางกรอหวานกลมกล่อม ที่ได้รับความนิยมเล่นกันมากว่า
เจ็ดทศวรรษ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น